ตรรกศาสตร์ การสรุปเชิงเหตุผล
ครั้งที่แล้วเขียนเรื่อง การสรุปเหตุผลเชิงตรรกะ มีผู้ต้องการอยากได้แบบฝึกหัด มาคราวนี้ จึงจัดให้นะครับ
การสรุปเหตุผล ต้องอาศัยเหตุ หรือ premises ที่ให้มา โดยต้องเชื่อว่า เหตุที่ให้มานั้นเป็นจริง การสรุปถ้ายึดตามหลักภาษาหรือความหมายแล้ว อาจจะทำให้ผิดไปจากหลักของ ตรรกะ เช่น
ถ้าเป็นไข้ จะทำให้ปวดหัว
วันนี้ฉันปวดหัว
สรุปว่า ฉันเป็นไข้
ถ้าดูตามความหมายก็อาจจะถูกต้อง
แต่ถ้าตรวจดูตามหลักตรรกะ แล้ว จะเห็นว่า ไม่เป็นจริง เพราะ อาการปวดหัว อาจจะเกิดได้หลายสาเหตุ เช่น เป็นไมเกรน ก็ปวดหัวได้เหมือนกัน
การสรุปแบบนี้ เรียกว่าเป็นข้อผิดพลาด หรือ Error ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Affirming the Consequent
ต้องการทบทวนหลักการสรุปเหตุผลเชิงตรรกะ คลิกทีนี่
การสรุปเหตุผล ต้องอาศัยเหตุ หรือ premises ที่ให้มา โดยต้องเชื่อว่า เหตุที่ให้มานั้นเป็นจริง การสรุปถ้ายึดตามหลักภาษาหรือความหมายแล้ว อาจจะทำให้ผิดไปจากหลักของ ตรรกะ เช่น
ถ้าเป็นไข้ จะทำให้ปวดหัว
วันนี้ฉันปวดหัว
สรุปว่า ฉันเป็นไข้
ถ้าดูตามความหมายก็อาจจะถูกต้อง
แต่ถ้าตรวจดูตามหลักตรรกะ แล้ว จะเห็นว่า ไม่เป็นจริง เพราะ อาการปวดหัว อาจจะเกิดได้หลายสาเหตุ เช่น เป็นไมเกรน ก็ปวดหัวได้เหมือนกัน
การสรุปแบบนี้ เรียกว่าเป็นข้อผิดพลาด หรือ Error ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Affirming the Consequent
ต้องการทบทวนหลักการสรุปเหตุผลเชิงตรรกะ คลิกทีนี่
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น