บทความ

กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ index

การแก้ปัญหา #N/A ของสูตร vlookup

รูปภาพ
สูตร vlookup() มีรูปแบบการใช้ ดังนี้ VLOOKUP(lookup_value, table_array, col_index_num, [range_lookup]) lookup_value คือ ข้อมูลที่ต้องการให้ค้นหา table_array คือ ตารางข้อมูลที่ไปทำการค้นหา col_index_num คือ ตำแหน่งคอลัมน์ในตารางข้อมูลที่ต้องการให้นำมาแสดงเมื่อพบข้อมูลที่ค้นหาแล้ว ตำแหน่งคอลัมน์แรก คือ 1 range_lookup คือ ลักษณะการค้น      ถ้าต้องการให้ค้นคำที่เหมือนกับคำค้นทุกประการ ให้กำหนดเป็น False หรือ 0      ถ้าให้ค้นแบบใกล้เคียง ให้กำหนดเป็น True หรือ 1 และต้องเรียงข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามาก      ถ้าไม่ระบุ Excel จะใช้ถือว่าเป็น true สูตร vlookup() ของ Excel เป็นสูตรที่มีประโยชน์ แต่ก็มีข้อที่ต้องระวังหลายอย่างเหมือนกัน มิฉะนั้น จะไม่แสดงค่าตามที่ต้องการ เช่น อาจจะแสดงค่า  #N/A เป็นต้น ดูตัวอย่างข้างล่างนี้ ท่านทราบหรือไม่ว่า ทำไมสูตร vlookup() จึงไม่แสดงชื่อที่ต้องการ ถ้าพิจารณาจากสูตรที่ใช้  จะเห็นว่า เป็นการค้นหาแบบ exact match คือ เหมือนคำค้นที่ต้องการ คือ ให้แสดงชื่อคนในตาราง D26:J36 ที่ได้คะแ...

การใช้ INDEX และ MATCH ของ Excel

รูปภาพ
INDEX ใช้สำหรับแสดงข้อมูล ในช่วงที่ระบุ MATCH ใช้ค้นหาตำแหน่ง ในช่วงข้อมูลที่ระบุ ตามเงื่อนไขที่กำหนด รูปแบบการใช้ INDEX( array, row_num, [ column_num ] )      array  คือช่วงข้อมูลที่กำหนด      row_num คือ ตำแหน่งเริ่มต้นลงมากี่แถว ในช่วงที่กำหนด      column_num คือ ตำแหน่งถัดเข้าไปกี่คอลัมน์ ในช่วงที่กำหนด MATCH( lookup_value, lookup_array, match_type )      lookup_value คือ ข้อมูลที่ต้องการค้นหา      lookup_array คือ ช่วงข้อมูลที่กำหนดให้ค้นหาภายในนี้      match_type คือ ลักษณะการค้นหา มีค่าได้ 3 ค่า คือ 0, +1 และ -1           ถ้าเป็น 0 หมายถึงต้องเหมือนกับข้อมูลที่ต้องการค้นหา           ถ้าเป็น +1 หมายถึง ให้หาข้อมูลที่มากที่สุด ซี่งน้อยกว่าหรือเท่ากับข้อมูลที่กำหนด และต้องเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก เช่น -2 -1 0 1 2 3 หรือ ก - ฮ หรือ A-Z    ...