บทความ

แนวข้อสอบ ก.พ. เรื่อง สดมภ์

สดมภ์ ข้อสอบ ก.พ. ปัจจุบัน มักจะมีเรื่องสดมภ์รวมอยู่ด้วย ประมาณ 5 ข้อ ความจริงสดมภ์ หรือ คอลัมน์ ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นการจัดรูปแบบข้อสอบเสียใหม่ โดยทำเป็นคอลัมน์ ผู้เข้าสอบ ต้องหาคำตอบในแต่ละคอลัมน์ เพื่อเปรียบเทียบกันว่า คอลัมน์ไหน มีค่ามากกว่ากัน ส่วนใหญ่เป็นการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ (quantitative comparision) เนื้อหามักจะเป็นเรื่อง เศษส่วน รูท เลขยกกำลัง และ คณิตศาสตร์ทั่วไป เป็นต้น แบฝึกหัด เรื่องสดมภ์ คำชี้แจง ให้พิจารณาข้อมูลทางปริมาณที่กำหนดให้ 2 จำนวน ปริมาณแรกอยู่สดมภ์ ก. และ อีกปริมาณอยู่สดมภ์ ข. แล้วเปรียบเทียบ 2 สดมภ์นี้ โดยมีสดมภ์ ค. เป็นข้อมูลเพิ่มเติม แล้วตอบโดยยึดหลักเกณฑ์ดังนี้ ตอบ 1 หากค่าในสดมภ์ ก. มากกว่า ค่าในสดมภ์ ข. ตอบ 2 หากค่าในสดมภ์ ก. น้อยกว่า ค่าในสดมภ์ ข. ตอบ 3 หากค่าในสดมภ์ ก. เท่ากับ ค่าในสดมภ์ ข. ตอบ 4 หากไม่สามารถสรุปได้ว่า ค่าในสดมภ์ใดมีค่ามากกว่ากัน ข้อ 1. สดมภ์ ก. สดมภ์ ข. สดมภ์ ค. A / 5 B / 7 A คือ จำนวนที่หารด้วย 5 ลงตัว B คือ จำนวนที่หารด้วย 7 ลงตัว     1. ค่าในสดมภ์ ก. มา...

look for, look up, look into ต่างกันอย่างไร

look for, look up, look into  เป็น phrasal verbs หรือ กริยาวลี หรือ two word verbs ซึ่งทั้งสามคำนี้ มีความหมายคล้ายกัน แต่ไม่เหมือนกัน ลองทำแบบฝึกหัดดูก่อน นะครับ Instructions: Select the one that does not belong to the group. ข้อ 1. She is going to .................. their children while you're away.   1. look after 2. look at 3. look for 4. look into   dummy text 1. look after (ดูแล รับผิดชอบ) ✔ 2. look at (มองดู) 3. look for (ค้นหา) 4. look into (ตรวจสอบ) คำตอบที่ถูก คือ ข้อ 1   ข้อ 2. Can you help me ............... my keys? I can't find them.   1. look after 2. look through 3. look at 4. look for   dummy text 1. look after (ดูแล เลี้ยงดู รับผิดชอบ) 2. look at (มองดู) 3. look through (ตรวจดูอย่างรวดเร็ว) 4. look for (มองหา) ✔ คำตอบที่ถูก คือ ข้อ 4   ข้อ ...

Phrasal Verbs

Phrasal Verbs Phrasal Verbs หรือ กริยาวลี หรือ Two-word verbs คือ กลุ่มคำที่ประกอบด้วย คำกริยา ตามด้วย adverb หรือ preposition และมีความหมายต่างไปจากคำกริยาเดิม Phrasal Verbs อาจจะแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ Phrasal Verbs ที่แยกจากกันได้ - กรรมของประโยคที่เป็นคำนาม อาจจะต่อท้าย หรือแทรกอยู่ตรงกลาง Phrasal Verbs ก็ได้ แต่ถ้ากรรม เป็นกลุ่มคำยาว ๆ จะอยู่ต่อจาก Phrasal เช่น You have to do this paint job over. You have to do over this paint job. คุณต้องทาสีงานนี้ใหม่อีกครั้ง You have to do over this ridiculous paint job. คุณต้องทาสี งานสีที่ดูแปลกประหลาดใหม่อีกครั้ง - แต่ถ้ากรรม เป็นคำสรรพนาม เช่น him her me them it เป็นต้น Phrasal Verbs ต้องแยกกัน You have to do it over. ✔ You have to do over it . ✘ คุณต้องทำงานใหม่อีกครั้ง Phrasal Verbs ที่แยกจากกัน ไม่ได้ Phrasal Verbs ประเภทนี้ จะอยู่คู่กันเสมอ ส่วนที่เป็นกรรม จะต่อจาก Phrasal Verb ไม่ว่าจะเป็นคำนาม หรือคำสรรพนามก็ตาม เช่น The students went over the material before the exam. They should have gone...