บทความ

แบบฝึก แนวข้อสอบ ก.พ. เรื่อง สดมภ์

แบบฝึกหัด แนวข้อสอบเรื่องสดมภ์ แนวข้อสอบสดมภ์ คำชี้แจง ดาวน์โหลด App สอบ ก.พ. สำหรับ Android ฟรี ที่ Play Store ตามหลักสูตร ก.พ. ใหม่ มีแนวข้อสอบ มากกว่า 1,000 ข้อ มีเฉลยอย่างละเอียด มีคำอธิบายทุกข้อ มีสรุปและเทคนิคการทำข้อสอบ มีชุดข้อสอบให้ลองทำ พร้อมจับเวลา ดาวน์โหลด ที่ Play Store คลิกที่นี่ ให้พิจารณาข้อมูลทางปริมาณที่กำหนดให้ 2 จำนวน ปริมาณแรกอยู่สดมภ์ ก. และ อีกปริมาณอยู่สดมภ์ ข. แล้วเปรียบเทียบ 2 สดมภ์นี้ โดยมีสดมภ์ ค. เป็นข้อมูลเพิ่มเติม แล้วตอบโดยยึดหลักเกณฑ์ดังนี้ ตอบ 1 หากค่าในสดมภ์ ก. มากกว่า ค่าในสดมภ์ ข. ตอบ 2 หากค่าในสดมภ์ ก. น้อยกว่า ค่าในสดมภ์ ข. ตอบ 3 หากค่าในสดมภ์ ก. เท่ากับ ค่าในสดมภ์ ข. ตอบ 4 หากไม่สามารถสรุปได้ว่า ค่าในสดมภ์ใดมีค่ามากกว่ากัน ข้อ 1. สดมภ์ ก. สดมภ์ ข. สดมภ์ ค. x 3 6 4x+3y = 11 -2x+6y = 2     1. ค่าในสดมภ์ ก. มากกว่า ค่าในสดมภ์ ข. 2. ค่าในสดมภ์ ก. น้อยกว่า ค่าในสดมภ์ ข. 3. ค่าในสดมภ์ ก. เท่ากับ ค่าในสดมภ์ ข. 4. สรุปไม่ได้   dummy...

ทบทวนเรื่อง เลขยกกำลัง

รูปภาพ
เลขยกกำลัง มักจะมีออกในข้อสอบ ก.พ. เรื่องสดมภ์ อยู่เสมอ ถ้ามีการทบทวน ทำความเข้าใจเสียก่อน น่าจะทำให้ทำข้อสอบได้อย่างถูกต้อง และใช้เวลาไม่มากนัก ทบทวนกฎของเลขยกกำลัง Rule กฎ ตัวอย่าง Zero-Exponent Rule: a 0 = 1 3 0 = 1 Power Rule: (a m ) n = a mn (x 5 ) 4 = 5 20 Negative Exponent Rule: a -n = 1 / a n 5 -2 = 1 / 5 2 = 1 / 25 Product Rule: a m .a n = a m+n x.x 5 = x 6 Quotient Rule: a m / a n = a m-n x 5 / x 2 = x 3 การแก้ปัญหาโจทย์เลขยกกำลัง ด้วยตัวเลขหลายหลัก หลักการคือ ต้องพยายามทำฐาน หรือ ตัวเลขยกกำลังให้เท่ากัน จึงจะเปรียบเทียบกันได้ วิธีการ คือ หาตัวหารที่มากที่สุด ที่มาหารตัวเลขยกกำลัง หรือ พูดง่าย ๆ ว่า หา ห.ร.ม ของตัวเลขยกำลัง เช่น จงเปรียบเทียบค่า ระหว่าง 4 28 และ 6 21 พิจารณาดูเลขยกกำลัง คือ 28 และ 21 จะเห็นว่ามีตัว ห.ร.ม. (ตัวเลขที่มากที่สุดที่หารทั้งสองตัว ลงตัวพอดี) คือ 7 น่าจะทำเป็นเลขยกกำลัง 7 ได้ โดยอาศัย Power Rule คือ 4 28 = 4 (4x7) = (4 4 ) 7 = 256 7 6 21 = 6 (3x7) = (6 3 ) 7 = 216 7 ∴ 4 28 มากกว่า 6 21 ตัวอย่าง...

แนวข้อสอบ ก.พ. เรื่อง สดมภ์

สดมภ์ ข้อสอบ ก.พ. ปัจจุบัน มักจะมีเรื่องสดมภ์รวมอยู่ด้วย ประมาณ 5 ข้อ ความจริงสดมภ์ หรือ คอลัมน์ ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นการจัดรูปแบบข้อสอบเสียใหม่ โดยทำเป็นคอลัมน์ ผู้เข้าสอบ ต้องหาคำตอบในแต่ละคอลัมน์ เพื่อเปรียบเทียบกันว่า คอลัมน์ไหน มีค่ามากกว่ากัน ส่วนใหญ่เป็นการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ (quantitative comparision) เนื้อหามักจะเป็นเรื่อง เศษส่วน รูท เลขยกกำลัง และ คณิตศาสตร์ทั่วไป เป็นต้น แบฝึกหัด เรื่องสดมภ์ คำชี้แจง ให้พิจารณาข้อมูลทางปริมาณที่กำหนดให้ 2 จำนวน ปริมาณแรกอยู่สดมภ์ ก. และ อีกปริมาณอยู่สดมภ์ ข. แล้วเปรียบเทียบ 2 สดมภ์นี้ โดยมีสดมภ์ ค. เป็นข้อมูลเพิ่มเติม แล้วตอบโดยยึดหลักเกณฑ์ดังนี้ ตอบ 1 หากค่าในสดมภ์ ก. มากกว่า ค่าในสดมภ์ ข. ตอบ 2 หากค่าในสดมภ์ ก. น้อยกว่า ค่าในสดมภ์ ข. ตอบ 3 หากค่าในสดมภ์ ก. เท่ากับ ค่าในสดมภ์ ข. ตอบ 4 หากไม่สามารถสรุปได้ว่า ค่าในสดมภ์ใดมีค่ามากกว่ากัน ข้อ 1. สดมภ์ ก. สดมภ์ ข. สดมภ์ ค. A / 5 B / 7 A คือ จำนวนที่หารด้วย 5 ลงตัว B คือ จำนวนที่หารด้วย 7 ลงตัว     1. ค่าในสดมภ์ ก. มา...